Home » [HIGHLIGHT] เถ้าแก่มีตังค์​ Ep.5 : #จดทะเบียนพาณิชย์ #จดVAT #จดบริษัท @THE MONEY [email protected] | ขอทะเบียนการค้า

[HIGHLIGHT] เถ้าแก่มีตังค์​ Ep.5 : #จดทะเบียนพาณิชย์ #จดVAT #จดบริษัท @THE MONEY [email protected] | ขอทะเบียนการค้า

[HIGHLIGHT] เถ้าแก่มีตังค์​ Ep.5 : #จดทะเบียนพาณิชย์ #จดVAT #จดบริษัท @THE MONEY [email protected]


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

จดทะเบียนพาณิชย์ จดทะเบียนVAT และจดบริษัท เคลียร์ให้ชัด เพื่อที่จะได้รู้ว่าเจ้าของธุรกิจต้องทำอะไร?
เรามักจะตั้งคำถามว่า เริ่มต้นธุรกิจ ต้องจดอะไรบ้าง ? แต่สิ่งที่เจ้าของธุรกิจควรตั้งคำถาม คือ ทำไมเราต้องจด ? เพราะถ้าเราเริ่มตั้งคำถามว่า “ทำไม” เราจะได้คำตอบที่ชัดเจนกว่า
สิ่งแรกที่ต้องทำความเข้าใจก่อน คือ การจดแต่ละอย่าง ไม่ได้เกี่ยวข้องกัน และการจดกับการเสียภาษีมันเป็นคนละเรื่องกัน
เริ่มจาก จดแรก = จดทะเบียนพาณิชย์ มีอยู่ 2 รูปแบบ คือ พาณิชย์ (ปกติ) = ร้านค้า กับ พาณิชย์ (อิเล็กทรอนิคส์) = ร้านค้าออนไลน์
จดทำไม : ประกอบธุรกิจเข้าเงื่อนไขหรือเปล่า เช่น พาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์ หมายถึง ซื้อขายสินค้าบริการ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิคส์ บริการอินเตอร์เน็ต เช่าคอมพิวเตอร์แม่ขาย หรือ บริการ Emarketplace ถ้าเข้าเงื่อนไขแบบนี้ = เราต้องจดเพราะเป็นหน้าที่ตามกฎหมาย และได้รับความน่าเชื่อถือจากลูกค้าที่เข้ามาซื้อของจากเรา
จดเมื่อไร : ภายใน 30 วันหลังจากเริ่มประกอบธุรกิจ (ค่าจด 50 บาท)
จดที่ไหน : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จดสอง = จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หลักการสำคัญที่ต้องรู้ คือ ไม่ว่าเราจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล เรามีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ถ้าเข้าเงื่อนไขของกฎหมาย หลังจากนั้นค่อยทำความเข้าใจสั้นๆ ตามนี้ คือ
จดทำไม : ประกอบธุรกิจซื้อขายสินค้าบริการในประเทศ ไม่ใช่ธุรกิจที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม และมียอดขายเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
จดเมื่อไร : ภายใน 30 วันหลังจากที่ยอดขายเกิน 1.8 ล้านบาท
จดที่ไหน : สรรพากรพื้นที่ หรือ ผ่านอินเตอร์เน็ต
ศึกษาเรื่อง VAT เพิ่มเติม
คลิปนี้ : https://youtu.be/dbhLVtUkxDs
จดสุดท้าย = จดบริษัท (หรือจดนิติบุคคล) ข้อสุดท้ายนี้อยากให้ทำความเข้าใจก่อนว่า ไม่ว่าจะจดทะเบียนพาณิชย์หรือจด VAT เรามีหน้าที่เสียภาษีเงินได้อยู่แล้ว (ซึ่งถ้าไม่เคยจดอะไร เราต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) แต่ถ้าเราตัดสินใจเริ่มต้นธุรกิจทำให้ถูกต้อง ก็จะมาพิจารณาจดบริษัท (นิติบุคคล) และจะเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแทน

See also  50 ไอเดีย ของขวัญที่ผู้ชาย ( อยากได้ ) | FaRaDise | ของขวัญ ให้ เพื่อน ผู้ชาย
See also  ติดยืนยัน ตัวตน 2 ชั้น เข้าเฟสไม่ได้ สอนแก้ ยืนยันตัวตน วิธีกู้คืน Facebook 2021 l ครูหนึ่งสอนดี | แก้ไข เฟส

จดทำไม : อยากประหยัดภาษี มองเห็นความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย หรือต้องการความน่าเชื่อถือในการทำธุรกิจ มีหุ้นส่วน หรือสร้างโอกาสขอสินเชื่อ
จดเมื่อไร : เมื่อพร้อมจด
จดที่ไหน : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (ตอนนี้สามารถจด VAT พร้อมกันได้เลย)
เถ้าแก่มีตังค์ (เหลาปั่นโหย่วเฉียน) รายการสอนการจัดการเงินสำหรับผู้ประกอบการ และอาชีพอิสระ ดำเนินรายการโดย โค้ชหนุ่ม (จักรพงษ์ เมษพันธุ์) และ Taxbugnoms (ถนอม เกตุเอม)
ติดตามรับชมแบบสดๆ (Live) ทาง Facebook และ Youtube ผ่านช่องทาง @THE MONEY COACH ทุกคืนวันศุกร์ เวลา 2 ทุ่มตรง

See also  วิธีรายงานตัวว่างงาน ง่ายๆรวดเร็ว รอเงินเข้า | รายงานตัวจัดหางาน

[HIGHLIGHT] เถ้าแก่มีตังค์​ Ep.5 : #จดทะเบียนพาณิชย์ #จดVAT #จดบริษัท @THE MONEY COACHx@TAXBugnoms

น้อง D Bank แนะนำขั้นตอนการจดทะเบียนการค้า และการจดทะเบียนนิติบุคคล


น้อง D Bank แนะนำขั้นตอนการจดทะเบียนการค้า และการจดทะเบียนนิติบุคคล ให้กับผู้ประกอบการทุกท่านค่ะ

น้อง D Bank แนะนำขั้นตอนการจดทะเบียนการค้า และการจดทะเบียนนิติบุคคล

e-Registration กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


กรมพัฒนาธุรกิจการค้าพัฒนาระบบจดทะเบียนนิติบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ (eRegistration) เพื่อให้การจดทะเบียนเป็นเรื่องง่าย สามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา

e-Registration กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

เอกสารในการจดทะเบียนพาณิชย์ และพาไปจดจริง ( อัปเดต 2021 )


กด ติดตาม กด like กด กระดิ่ง เป็นกำลังใจ ด้วยนะครับ
แฟนเพจครับ
https://www.facebook.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A1channal103984517833330
? ติดต่องานสปอนเซอร์ 0968265593. ขอบคุณครับ
เราชนะร้านของชำvat7%

เอกสารในการจดทะเบียนพาณิชย์ และพาไปจดจริง ( อัปเดต 2021 )

การจดทะเบียนพาณิชย์ กรณีบุคคลธรรมดา


การจดทะเบียนพาณิชย์ กรณีบุคคลธรรมดา

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *